บทความ

สมาชิกการจัดการ 60 ห้อง A

อาจารย์ธภัทร ชัยชูโชค   อาจารย์ปาล์ม 001 นางสาวกรรภิรมณ์ ติระพัฒน์       เอิง 002 นาย ก้องเกียรติ     ศิลป์ภูศักดิ์   อัด 003 นายเกียรติศักดิ์      ดำด้วง       เอ็ม 004 นายจีรุตม์              ศรีราม          บิ๊ก 005 นายชนัตถ์             จันทร์วงค์     นัท 007 นางสาวฐานิญา     ช่วยบำรุง   พะแพง 010 นายตะวัน               แซ่ซำ         การ์ด   011 นายธนพงษ์          ไชยอนุรักษ์   บูม 012 นายธวัช                 บัวแก่น         บอล 013 นางสาวธิดารัตน์ เรืองเหมือน แพร 015 นายนันทวุฒิ        ช่วยมณี         บ่าว 016 นายนิติกรณ์       ยอดสุวรรณ์     น็อต 018 นายประพัฒน์พังษ์ ทองเอม       นุ๊ก 019 นายปิยวิทย์          สังข์เศรษฐ์   วิทย์  021 นางสาวเพชรลดา สุวรรณเดชา  ฝน 023 นายภาคภูมิ       ใจสมุทร            ภูมิ 024 นายมูฮัยมีน       ยะเลซู            มิง 025 นายยูโซฟ          ใบตาเย๊ะ       กำนัน 026 นายรุซดีย์           ยะลิน               ดี 027 นางสาวลัดดาวรรณ แก้วเจริญ ปาล์ม 028 นายวรายุทธ          ชูบุญลาภ     แม็ค 030 นางสาววารีซ่า บาราสัน        

ระบบขนถ่ายอัตโนมัติ

รูปภาพ
ระบบสายพานลำเลียง                        ระบบสายพานลำเลียง  ( Belt Conveyor ) คือ อุปกรณ์ลำเลียง ( Conveyor ) ที่ใช้สายพาน ( Belt ) เป็นตัวนำพาวัสดุ  ระบบสายพานลำเลียง ทำหน้าที่เคลื่อนย้ายวัสดุจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง  หลังจากวัสดุหรือชิ้นงานผ่านกระบวนการตามขั้นตอนมา เมื่อมาถึงการขนย้ายหรือลำเลียงก็จะใช้ระบบสายพานลำเลียง (Belt Conveyor System) ในการเคลื่อนย้ายวัสดุหรือชิ้นงาน            สามารถออกแบบการจัดเรียงได้หลายรูปแบบเพื่อให้เหมาะกับตำแหน่งของการจัดส่งและการผลิต ซึ่งจำนวนและปริมาณจะมีขนาดเล็กลงเพื่อสอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคที่หลากหลายและซับซ้อน ผลิตภัณธ์ของเราไม่ได้พัฒนาเพียงแค่ประสิทธิภาพอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังมีบริการจัดส่งที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพว่าสินค้าจะไม่ได้รับความเสียหาย นอกจากนี้ เรายังมีระบบขนส่งที่ตรงตามความต้องการให้อุปกรณ์กึ่งตัวนำมีขนาดเล็กลงและความต้องการแผ่นกระจกที่ใสบริสุทธิ์ ระบบอัตโนมัติสำหรับโรงงานผลิตรถยนต์ในทุก ๆ กระบวนการและระบบสายพานสำหรับการขนถ่ายกระเป๋าสัมภาระที่สนามบิน  ระบบสายพานลำเลียง (Belt Con

หุ่นยนต์อุตสาหกรรม

รูปภาพ
หุ่นยนต์อุตสาหกรรม          หุ่นยนต์ถูกนำมาใช้ในหลายแวดวงอุตสาหกรรมเพื่อวางตำแหน่งชิ้นงานต่างๆ อย่างรวดเร็วและแม่นยำสูง หุ่นยนต์บางแบบ (ไม่จำกัดแต่เพียงการเคลื่อนที่ในแนวตั้งฉาก) มีส่วนประกอบข้อต่อหลายชิ้นส่วนเพื่อช่วยในการจำลองการเคลื่อนไหวของแขนมนุษย์ ส่วนข้อต่อเหล่านี้ต้องมีความแม่นยำในการเหวี่ยงสูง และมีความทนทานสูงเพื่อให้มั่นใจได้ว่า การหยุดกะทันหันจะไม่ทำให้การทำงานผิดพลาด และผลิตภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของ THK มีประสิทธิภาพและมีขนาดเล็กพอที่จะทำตามความต้องการเหล่านั้นได้          อุตสาหกรรมในประเทศไทยจะเห็นได้ว่ามีการนำเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ (Automation Technology) เข้ามาใช้งานเพื่อให้สินค้าสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ ทั้งในเรื่องราคา และคุณภาพ โดยเฉพาะในเรื่องคุณภาพ อาจเนื่องจากมีการเปลี่ยนรุ่นผลิตภัณฑ์อยู่บ่อยๆ ต้องใช้เวลาในการ Set Up ปัจจุบันจึงมีการนำเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาใช้ หนึ่งในเทคโนโลยีที่มีความยืดหยุ่นสูง ได้แก่ หุ่นยนต์อุตสาหกรรม เนื่องจากการเปลี่ยนการทำงานสามารถทำได้โดยการเปลี่ยนโปรแกรม นอกจากนี้คุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้มีความสม่ำเสมอเป็นมาตรฐานเดียวกัน

เทคโนโลยีเครื่องจักรกล NC

รูปภาพ
เทคโนโลยีเครื่องจักรกล NC            NC   ย่อมาจาก  Numerical Control  หมายถึงการควบคุมการทำงานของเครื่อง  NC  ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม  NC.  ระบบ  NC  ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1950  ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่. ในปัจจุบันระบบ  NC  จะถูกแทนที่ด้วยระบบ  CNC  เกือบทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากว่าในระบบ  NC  ไม่มีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทำงาน  อีกทั้งเครื่องจักรที่ถูกควบคุมด้วย  NC   ก็ไม่มีการผลิตออกมาใช้งานแล้ว. N   ย่อมาจาก   Numerical   (   นิวเมอร์ริเคล  )   หมายถึง   ตัวเลข   0  ถึง   9    ตัวอักษร หรือโค้ด  C  ย่อมาจาก  Control   ( คอนโทรล )   หมายถึง  การควบคุมโดยกำหนดค่า  หรือตำแหน่งจริงที่ต้องการเพื่อให้เครื่องจักรทำงานให้ได้ค่าตามที่กำหนด                          ดังนั้น     เอ็นซี   ( NC )   หมายถึง    การควบคุมเครื่องจักรกลด้วยระบบตัวเลขและตัวอักษร  ซึ่งคำจำกัดความนี้ได้จากประเทศสหรัฐอเมริกา  กล่